-
“พรรคปฎิวัติ” ทางเลือกที่เป็นไปได้
รัฐบาลเผด็จการชุดนี้ ทำงานรับใช้เจ้านายที่แท้จริงของพวกเขาคือ ระบบชนชั้นนายทุน มีการออกกฎหมาย หรือเอื้อประโยชน์ให้แก่นายทุนอย่างมโหฬาร เช่น การยอมให้มีการควบรวมกิจการค่ายมือถือทรูและดีแทค อ่านเพิ่ม
-
ทำไม “สังคมนิยมในประเทศเดียว” จึงล้มเหลว
มีการร่วมมือกันระหว่างสตาลินและชนชั้นปกครองทุนนิยมในประเทศอื่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยความร่วมมือมิได้เป็นไปเพื่อการเกิดขึ้นของการปฏิวัติทั่วโลก แต่เป็นไปเพื่อการดำรงอยู่ของสหภาพโซเวียตแต่ฝ่ายเดียว อ่านเพิ่ม
-
ชำแหละการยืดอายุเกษียณในยุโรป: ต้องทำงานนานขึ้นเพื่อรักษาระบบจริงหรือ
การรับนโยบายเสรีนิยมใหม่ที่รัฐมุ่งช่วยเหลือนายทุนมากกว่าคนงานก็ได้ให้อำนาจนายทุนในการไล่หรือเลือกคนงานได้มากขึ้น ทำให้คนแก่กลุ่มนี้กลายเป็นคนตกงานและตกลงสู่ความเหลื่อมล้ำ อ่านเพิ่ม
-
ทำไมนักวิชาการ ถึงสนับสนุนรัฐประหาร
“จิตสำนึกทางการเมือง” ไม่ได้สัมพันธ์กับอาชีพที่บุคคลเหล่านั้นทำ แต่เป็นชุดความคิดทางการเมืองที่ดำรงอยู่ในสังคมโดยเฉพาะแนวคิดกระหลักที่ถูกสร้างจากระบบทุนนิยมเพื่อใช้ครองใจคนในสังคมให้ภักดี อ่านเพิ่ม
-
คนงานตะวันตกได้ประโยชน์จากการล่าอาณานิคมจริงหรือ?
การเกิดขึ้นของการล่าอาณานิคมของของประเทศจักรวรรดินิยม มันจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อคนงานในเขตการปกครองของชาติจักรวรรดินิยมได้ถูกทุนในชาติขูดรีดจนเกิดการอิ่มตัวแล้ว อ่านเพิ่ม
-
พคท. ไม่เคยเป็นพรรคมาร์คซิสต์
พวกเราใน “สังคมนิยมแรงงาน” จะเคารพความพยายามและความเสียสละของสหายเก่าในสมัยที่ พคท. ยังอยู่ แต่เราจะไม่มีวันปกป้องแนวคิด สตาลิน-เหมา ของ พคท. อ่านเพิ่ม
-
การนัดหยุดงานเพื่อปกป้องบุคลากรทางการแพทย์ที่อังกฤษ
บรรยากาศการสมานฉันท์ที่ยอดเยี่ยม พยาบาลที่นัดหยุดงานเดินขบวนประท้วงตามถนนเพื่อไปหาการประท้วงของคนงานขับรถบัสที่เขตแคมเบอร์เวลล์ ซึ่งพนักงานขับรถบัสที่นั่นกำลังต่อสู้เรียกร้องค่าแรงเพิ่ม อ่านเพิ่ม
-
การต่อสู้ที่ไม่สิ้นสุดของกรรมาชีพ
เราไม่อาจมอบหมายภารกิจเปลี่ยนแปลงสังคมไว้ที่ผู้นำเพียงไม่กี่คนในพรรค ฉะนั้น มวลชนที่มีจิตสำนึกจึงควรรวมตัวกันเป็นกลุ่มองค์กรของตนเองที่ไม่ตัดขาดกับชุมชน วัฒนธรรมหรืองานที่ทำอยู่ เช่น สภาคนงาน อ่านเพิ่ม
-
เราหวังพึ่งการเปลี่ยนแปลงจากความขัดแย้งของชนชั้นปกครองได้จริงหรือ?
เราไม่ควรหลงกลไปกับความขัดแย้งจอมปลอมของชนชั้นปกครอง พวกเขาทะเลาะเพียงเพราะแบ่งเค้กทั้งก้อนที่ได้ปล้นชิงกรรมาชีพมาไม่ลงตัว อ่านเพิ่ม
-
โลกของผีในความขัดแย้งทางชนชั้น
ผีมีทั้งผีของชนชั้นบนและผีในสังคมของชนชั้นล่าง และผีเหล่านี้ก็ไม่จำเป็นต้องหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันในนามของสิ่งลี้ลับเหนือธรรมชาติเสมอไป อ่านเพิ่ม
-
การทุจริตในรัฐทุนนิยมทำลายประชาธิปไตย
การทุจริตเกิดขึ้นและเติบโตภายใต้ระบบทุนนิยม ที่เปลี่ยนเงินให้เป็นพระเจ้าที่แท้จริง ทุกสิ่งได้รับอนุญาตและเป็นที่ชื่นชมหากสิ่งนั้นก่อให้เกิดการสะสมความมั่งคั่งร่ำรวย การขโมยมูลค่าจากการทำงานของแรงงานว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง อ่านเพิ่ม
-
ปัญหาวงการวิชาการไม่ใช่แค่เรื่องจริยธรรมบริสุทธ์
สิ่งเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ แต่เกิดจากความอ่อนแอของฝ่ายซ้ายหลังความพ่ายแพ้ของแนวสตาลิน-เหมา และการขาดสหภาพแรงงานสถานศึกษา อ่านเพิ่ม
-
สู้แบบปัจเจกหรือมวลชน?
การสู้แบบปัจเจกจะตัดขาดจากมวลชนซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่หลงคิดว่าการกระทำที่สร้างข่าวจะสามารถปลุกกระแสมวลชนได้โดยอัตโนมัติ โดยไม่ต้องทำงานจัดตั้งทำงานร่วมกับมวลชนอื่นๆ อ่านเพิ่ม
-
การเมืองห่างไกลจากตัวเราจริงหรือ?
ในฐานะที่เรานั้นคือกรรมาชีพ เราต้องคัดค้านการขูดรีดทั้งปวง อย่าปล่อยให้คำว่าการเมืองเป็นคำที่ใช้ตัดบทสนทนาถึงปัญหาสังคมในปัจจุบัน สังคม เศรษฐกิจวัฒนธรรม ล้วนถูกผนวกอยู่ในปริมณฑลทางการเมืองทั้งสิ้น อ่านเพิ่ม
-
มอง พ.ค.ท. ในสายตานักมาร์กซิสต์
อย่างไรก็ตามในมุมมองของชาวลัทธิมาร์คซิสต์-เลนินนิสต์ เราเห็นว่าแนวทางของพ.ค.ท.มีความแตกต่างกับแนวทางลัทธิมาร์ค-เลนิน เป็นอย่างมาก ทั้งนี้เรามองว่า พ.ค.ท.ได้รับอิทธิพลจากเหมาเจ๋อตุง อ่านเพิ่ม
-
ลูกจ้างทวิตเตอร์ควรเป็นเจ้าของทวิตเตอร์
แต่ “การลาออก” ไม่ใช่กลยุทธ์ที่ดีในการต่อสู้กับนายทุน ถ้าเราไม่เข้าควบคุมและเปลี่ยนที่ทำงานแย่ ๆ นี้ให้กลายเป็นที่ทำงานที่ดี แล้วเราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าที่ทำงานใหม่ที่กำลังจะไปทำไม่เหมือนที่เก่า? อ่านเพิ่ม
-
ระบบทุนนิยมทำให้เกิด “โรคอ้วน” รุนแรงขึ้น
สาเหตุที่ถูกพูดถึงมักจะเน้นไปที่พฤติกรรม “ส่วนบุคคล” ที่ไม่มีวินัยมากพอในการดูแลสุขภาพ มากกว่าจะพิจารณาสภาพสังคมเศรษฐกิจการเมืองอย่างเป็นระบบ แต่นักมาร์คซิสต์จะใช้วิธีการมองปัญหาต่างๆ แบบ “วิภาษวิธี” โดยจะมองความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ แบบองค์รวม อ่านเพิ่ม
-
การศึกษาแบบท่องจำต่างจากวิทยาศาสตร์อย่างไร
ถึงเวลาแล้วที่วงจรอุบาทว์ที่เน่าเฟะของระบบการศึกษาจะต้องถูกทําลายไป ขบวนการนักศึกษาควรต้องร่วมมือกับกรรมาชีพโดยเฉพาะครูหัวก้าวหน้ามาเข้าร่วมในการปฏิรูประบบการศึกษาที่เปิดกว้างและไม่ต้องแข่งขันกัน อ่านเพิ่ม